ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

KATA TUGAS


KATA TUGAS

Kata tugas(ชนิดของคำ)
   หมายถึงคำที่ปรากฏในประโยค อนุประโยคหรือวลีที่มีหน้าที่ที่แน่นอน
ชนิดของคำสามรถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ และ 14 ชนิดย่อ




  (1). คำเชื่อมประโยค (Kata penyambung ayat)
        a. คำเชื่อม (kata hubung)





(2). คำที่ปรากฏหน้าอนุประโยค (Kata praklausa)
        a. คำอุทาน (kata seru)
        b. คำถาม(kata tanya )
        c. คำสั่ง (kata perintah)
        d. คำตอบรับ ( kata pembenar )
        e. คำที่ปรากฏต้นประโยค (kata pangkal ayat)


(3). คำวลี (Kata prafrasa )
       a. คำช่วย (kata bantu)
       b. ความถี่ (kata penguat)
       c. การเน้นย้ำ (kata penegas)
       d. การปฏิเสธ (kata nafi)
       e. Pemeri
       f. คำบุพบท (kata sendi nama)
       g. ทิศทาง (kata arah)
       h. จำนวนนับ (kata bilangan)





1). คำเชื่อมประโยค (Kata penyambung ayat)
         คำที่มีหน้าที่เชื่อมประโยค 2 ประโยค หรือ หลายประโยค (คำเชื่อม)
    1.1 คำเชื่อม (kata hubnh gabungan )
           คำเชื่อมที่ทำหน้าที่ดชื่อม 2  ประโยคกลายมาเป็นประโยครวม
    ตัวอย่าง เช่น
           หรือ (atau), และ (dan), ต่อมา (kemudian) , แต่ (tetapi)
   1.2 คำเชื่อมแทรก (kata hubung pancangan) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
         1.2.1 คำเชื่อมแทรกหรือคำประกอบ (kata hubung pancangan atau kata komplemen)
         ตัวอย่างคำ เช่น
             เพื่อ (untuk)
        1.2.2 คำเชื่อมแทรกหรือคำขยาย (kata hubung pancangan atau keterangan)
         ตัวอย่างคำ เช่น
             หวังว่า (agar), คาดว่า(andai),g จนกระทั่ง (hingga), หาก (kalau), ในขณะ (ketika)
        1.2.3 คำเชื่อมแทรกหรือคำที่ใช้เชื่อมประโยคย่อยกับประโยคหลัก (kata hubunh pancangan atau relatif)
        ตัวอย่างคำ เช่น
            ที่ (yang)






(2). คำที่ปรากฏหน้าอนุประโยค (Kata praklausa)

     a. คำอุทาน (kata seru)
       ตัวอย่างคำ เช่น
            Oh, wahai, eh, cis
    b. คำถาม (kata tanya ) คำที่ใช้ในการตั้งคำถาม เช่น" kah"
       ตัวอย่างคำ เช่น
            เท่าไหร่ (berapa ), เมื่อไหร่ (bila), อย่างไร(bagaimana ), ทำไม(mengapa )
    c. คำสั่ง (kata perintah) คำที่ทำหน้าที่ ห้าม , เชิญ, ขอร้อง, ความหวัง
       ตัวอย่างคำ เช่น
            อย่า (jangan), ขอร้อง (minta), หวังว่า (semoga), เชิญ(sila), กรุณา(tolong)
    d. การตอบรับ (kata pembenar) คำที่หน้าที่อธิบายเกี่ยวกับเรื่องราว
       ตัวอย่างคำ เช่น
            ถูกต้อง (betul), ใช่(sungguh)
   e. คำที่ปรากฏต้นประโยค (kata pangkal ayat)
       ตัวอย่างคำ เช่น
            สำหรับ (adapun), กาลครั้งหนึ่ง( alkisah), เมื่อ (arakian), แล้วก็ (maka)



3). คำวลี (Kata prafrasa )
     a. คำช่วย(kata bantu) ใช้อธิบายกริยาวลี วิเศษวลี บุพบทวลี สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
 1. กริยาช่วยบ่งบอกถึงเวลา (kata bantu aspek) ทำหน้าชี้ถึงความแตกต่างของเวลา
    ตัวอย่าง เช่น      เคย(pernah), แล้ว (sudah)    = อดีต (masa lampau)
                              กำลัง (sedang)                      = ปัจจุบัน (masa kini)
                              ยัง(belum), จะ (akan )          = อนาคต (masa akan datang)
 2. กริยาช่วยบ่งบอกถึงความรู้สึก (kata bantu ragam)
    ตัวอย่างคำ เช่น
                ต้องการ (hendak) , สามารถ(dapat), ควรจะ(harus)
   

     b. คำบอกความถี่ (kata penguat) คำที่ทำหน้าที่เสริมความหมายในคำคุณศัพท์
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
            a.คำที่ปรากฏข้างหน้า (kata penguat hadapan)
     ตัวอย่างคำ เช่น  ค่อนข้าง (agak), เกินไป(terlalu)
     ตัวอย่างประโยค เช่น  
                        กล่องนั้นหนักเกินไป (kotok itu terlalu berat)
            b. คำที่ปรากฏหลังคำคุณศัพท์ (kata penguat belakang)
      ตัวอย่างคำ เช่น ถูกต้อง(benar), จัง/ครั้งเดียว(sekali)
      ตัวอย่างประโยค เช่น.
                         ทิวทัศน์ที่ทะเลสวยจัง (Pemandangan di pantai itu cantik sekali)
            c. คำที่ปรากฏข้างหน้า,ข้างหลัง ได้หมด (kata penguat bebas)
      ตัวอย่างคำ เช่น. มาก(amat), จริง(sungguh)
      ตัวอย่างประโยค เช่น
                          ภาพวาดนั้นสวยจริงๆ( Lukisan itu sungguh cantik)

     c. เน้นย้ำ (Kata penegas) คำที่ทำหน้าที่เน้นย้ำ เพื่อประโยค
           ตัวอย่างคำ เช่น -kah, -tah, -lah

     d.คำปฏิเสธ (Kata nafi) คำที่ทำหน้าที่ปฏิเสธใน คำนามวลี , กริยาวลี
        ตัวอย่างคำ เช่น. ไม่ใช่ (bukan/tidak)
    e. Kata pemeri อธิบายคำที่ปรากฏข้างหลัง หรือเพื่ออธิบายเพิ่มเติม
          ตัวอย่างคำ เช่น
           คือ (ialah ), ใช้หน้าคำนาม / คือ(adalah), ใช้หน้าคำคุณศัพท์, คำวิเศษ, คำบุพบท
     f. คำบุพบท (Kata sendi nama ) คำที่ปรากฏข้างหน้านาม
            ตัวอย่างคำ เช่น   จะ(akan), ระหว่าง (antara), สำหรับ(bagai), ใน(dalam), โดย(oleh), เกี่ยวกับ(tentang), เพื่อ (untuk)

      g . คำบอกทิศทาง( Kata arah) คำที่หน้าที่เพื่อชี้ทิศทาง
            ตัวอย่างคำ เช่น  ตะวัน(barat), ใต้(awah), ข้างหน้า(hadapan), มุม (penjuru)

      h. คำจำนวนนับ(Kata bilangan) คำที่ทำหน้าที่นับจำนวนนับที่แน่นอนและไม่แน่นอน
สามารถจำแนกออกเป็น 5 ประเภท
             a. จำนวนนับที่แน่นอน(kata bilangan tentu)
                  ตัวอย่างคำ เช่น.  หนึ่ง(satu), สอง(dua), สาม(tiga
             b. จำนวนนับที่ไม่แน่นอน( kata bilangan tak tentu)
                  ตัวอย่างคำ เช่น  ส่วนใหญ่ (para), ทั้งหมด(semua), ทั้งหลาย(seluruh)
             c. จำนวนนับรวม(katabilangan himpunan)
                ตัวอย่างคำ เช่น ทั้งสอง (kedua-dua)
             d. จำนวนนับที่แยก(kata bilangan pisahan)
                 ตัวอย่างคำ เช่น ทุกๆ(tiap-tiap), แตกต่าง(mading-masing)
            e. เศษส่วน(kata bilangan pecahan)
                ตัวอย่างคำ เช่น ครึ่ง(setengah), ส่วนหนึ่ง(sebahagian), เศษสองส่วนห้า (dua perlima)












ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Kata Kerja คำกริยา

            KATA KERJA                Kata Kerja (คำกริยา)   หมายถึง    คำที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำของคำนาม และคำสรรพนามในประโยค คำกริยาบางคำอาจมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำต้องมีคำอื่นมาประกอบ และบางคำต้องไปประกอบคำอื่นเพื่อขยายความ             Kata Kerja dalam Bahasa Melayu      คำกริยาในภาษามลายู Contohnya :         berjalan  =  walk   makan  =  eat membaca    =    read tidur  =   sleep  menulis   =   write bermain  =   play panggilan   =  call Kata kerja terbahagi kepada  2 jenis.                                           ...

ลงพื้นที่หาข้อมูล ตูปะซูตง อ.เทพา จ.สงขลา

ตูปะซูตง อัตลักษณ์อาหารหวาน ชายแดนใต้         ตูปะซูตง เป็นภาษาถิ่นมลายู ตูปะ (หรือ ตูป๊ะ , ตูปัต) หมายถึง ข้าวต้มใบกระพ้อ มีลักษณะเป็นข้าวเหนียวห่อใบกระพ้อแล้วนำไปต้มคล้ายข้าวต้มมัด , ซูตง หมายถึง ปลาหมึก เมื่อรวมกันจึงหมายถึงปลาหมึกยัดไส้ข้าวเหนียวต้มหวาน เป็นอาหารขึ้นชื่อของจังหวัดปัตตานี คนในพื้นที่จึงนิยมรับประทานเป็นอาหารหวาน จะความปราณีตและทะนุถนอมในการทำและปรุงรสนั้น คงไม่พ้นฝีมือคนเฒ่าคนแก่ คนดั้งเดิมในพื้นที่                  "ตูปะซูตง" เป็นอาหารพิเศษ ที่หลอมรวมเอาวัตถุดิบจากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในภาคใต้ จากวิถีการดำรงชีพที่สัมพันธ์เกื้อกูลกัน   อันมาจากภูมินิเวศที่เป็นเขา ป่า นา เล   เชื่อมโยงกันทั้งทรัพยากรและวิถีของผู้คน อาหารชนิดนี้หากใครได้ลิ้มลองก็คงจะต้องนึกถึงว่า วัตถุดิบล้วน ได้มาจากแหล่งเกษตรกรรม ซึ่งทำนาข้าว ปลูกสวนมะพร้าว แหล่งประมงน้ำลึกและประมงชายฝั่ง รวมถึงการทำนาเกลือ   รวมกันอยู่ในเมนู "ตูปะซูตง" ...